วันศุกร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Recorded Diary 11


Friday  26   October 2018


time 08.30 - 12.30 o'clock

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

The knowledge gained ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์เปิดคลิปวิดีโอที่เพื่อนๆทำการทดลองให้ดู 

เพื่อนคนเเรก นางสาว อุไรพร  พวกดี ทดลองเรื่อง ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ ดับไฟได้

ปัญหาคือ ทำไมไฟถึงดับ

การทดลอง นำเทียนมาวางไว้บนเบกกิงโซดาหลังจากนั้นจุดไฟบนเทียนเเละนำน้ำมะนาวที่ผสมเเล้วเทลงบนเบกกิงโซดาผลที่ได้คือ ไฟในเทียนดับ

สรุปผลการทดลอง ถ้านำน้ำมะนาวมาหยดลงบนเบกกิงโซดาจะเกิดการทำปฏิกิริยากันทำให้ไฟดับได้ดังนั้นจึงเรียกก๊าวนี้ว่า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์


เพื่อนคนที่สอง นางสาว ปรางทอง  สุริวงษ์ ทดเรื่องเรื่อง การเปิดปิดสวิตซ์
ปัญหาคือ ทำไมไฟถึงติด

การทดลอง นำถ่านไฟฉายมาต่อเข้ากับสายไฟปากหนีบจระเข้เเล้วนำหลอดไฟมาต่อเข้ากอีกทางเเล้วนำสายที่เหลือเสียบต่อผลที่ออกมาคือ ไฟฟ้าติด

สรุปผลการทดลอง ถ้าเรานำสิ่งที่เป็นโลหะมาต่อเข้ากับสายไฟปากหนีบจระเข้จะทำให้ไฟติด


skills ทักษะ

ได้รู้เกี่ยวกับการทดลองการเกิดไฟฟ้าเเละการเิกดก๊าซคาร์บอนได้ออกไซค์

Apply การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้ในการทดลองในเรื่องไฟฟ้าได้

Technique เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน

เทคนิคการให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้


Assesment ประเมิน
our self ตัวเอง : ตั้งใจดูคลิปวิดีโอเเละจดตาม
Friend เพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์เเละให้ความร่วมมือในชั้นเรียน
Teacher อาจารย์ : ให้คำปรึกษาเรื่องการทดลองอย่างละเอียด

รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

วันศุกร์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Recorded Diary 10


Friday  19   October 2018


time 08.30 - 12.30 o'clock

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ขอบคุณดุ๊กดิ๊ก


The knowledge gained ความรู้ที่ได้รับ


อาจารย์ให้เลือกเรื่องที่ทดลองของเพื่อนในกลุ่มออกมา1เรื่องโดยลงความเห็นกันในกลุ่มว่าจะเอาเรื่องอะไรเเละนำไปจัดฐานให้กับเด็กๆโดยจะเป็นโครงการของห้องที่จะนำไปจัดให้กับเด็กๆ

ฐานของฉันมีชื่อว่า 
ปริศนา ซี โอ ทู 

วัตถุประสงค์
  1. เด็กบอกได้ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เกิดจากอะไร
  2. เด็กบอกได้ว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีประโยชน์และโทษอย่างไร
กิจกรรม
1.      สิ่งของเหล่านี้เด็กๆคิดว่าสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?
ประเด็นที่อยากรู้
            2.สิ่งของที่วางอยู่บนโต๊ะถ้าเอาน้ำมะนาวผสมเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือมันจะเกิดปฏิกิริยาอะไรบ้าง
สมมติฐาน
 (คำถามเพื่อให้เด็กตั้งสมมติฐาน) ถ้าเทน้ำมะนาวลงไปในแก้วทั้ง 4 ใบจะเกิดอะไรขึ้น?
(นี่คือสมมติฐานเป็นสิ่งที่เด็กตอบ) 3.ถ้าเทน้ำมะนาวลงไปในแก้วทั้ง 4 ใบจะเกิดการละลาย
ทดลอง
4. ครูให้เด็กตักเบกกิงโซดา น้ำตาลทราย ผงฟู และเกลือแต่ละชนิด ครั้งละ  2 ช้อนใส่ในแก้วพลาสติกใบที่ 1 ,2,3,4 ตามลำดับ
 5. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 1 ที่มี เบกกิงโซดา และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
            6. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 2 ที่มี น้ำตาลทราย และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
            7. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 3 ที่มี ผงฟู และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
            8. ครูให้เด็กตักน้ำมะนาวจำนวน 3 ช้อนใส่ลงในแก้วใบที่ 4 ที่มีเกลือ และสังเกตว่ามีอะไรเกิดขึ้นบ้าง จากนั้นให้เด็กบันทึก
อภิปรายข้อมูล
ผลจากการสังเกต
9. แก้วใบที่ 1 และใบที่ 3 มีการละลายและเกิดฟอง
10. แก้วใบที่ 2 และใบที่ 4 มีการละลายอย่างเดียว
ตรวจสอบกับสมมติฐาน
11. ถ้าเทน้ำมะนาวลงไปในแก้วทั้ง 4 ใบจะเกิดการละลาย
สรุปผลการทดลอง
น้ำมะนาวละลายสารทั้ง 4 ชนิดเป็นไปตามสมมติฐาน และเกิดข้อค้นพบว่าแก้วใบที่ 1 และใบที่ 3 มีการเกิดฟอง เพราะน้ำมะนาวเป็นกรดทำปฏิกิริยากับเบกกิงโซดาและผงฟูทำให้เกิดฟองอากาศ ซึ่งอากาศนั้นคือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

วิธีการประเมิน
-          สังเกตจากพฤติกรรมขณะร่วมปฏิบัติการทดลอง
-          การสนทนาซักถามเกี่ยวกับปฏิกิริยาของน้ำมะนาวและสารทั้ง 4 ชนิด
-           
สื่อ /  อุปกรณ์
1.เบกกิงโซดา
2.น้ำตาลทราย
3.ผงฟู
4.เกลือ
5.น้ำมะนาว
6.แก้วน้ำพลาสติก
7.ช้อน
8.น้ำอัดลม
9.เนื้อหมู



skills ทักษะ

ได้รู้เกี่ยวกับการทดลองการเกิดก๊าซ

Apply การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้ในอนาคต

Technique เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน

เทคนอคการถามเเละการให้นักศึกษาคิดแและตอบ


Assesment ประเมิน
our self ตัวเอง : ตั้งใจเรียนในคาบ
Friend เพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์
Teacher อาจารย์ : ให้คำปรึกษาและอธิบายขั้นตอนการทดลองอย่างละเอียด


รูปภาพที่เกี่ยวข้อง




วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2561

Recorded Diary 9


Friday  12   October 2018


time 08.30 - 12.30 o'clock


รูปภาพที่เกี่ยวข้อง


The knowledge gained ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนออกมาทดลองต่อจากครั้งที่เเล้ว

คนที่ 1 นางสาวอรอุมา  ศรีท้วม ทำการทดลองเรื่องปริมาณของน้ำดูว่าน้ำมีขนาดเท่ากันหรือไม่โดยจะมีแก้ว 4ใบที่มีขนาดเเละรูปทรงต่างกันโดยการให้ตัวเเทนเพื่อนออกไปตักน้ำใส่แก้วจนครบเเล้วสังเกตทีละเเก้วว่าน้ำที่ได้นั้นมีขนาดเท่ากันหรือไม่อย่างไร





skills ทักษะ

ได้รู้เกี่ยวกับการทดลองของบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

Apply การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้ในการเรียนการสอนได้

Technique เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน

อาจารย์สอนโดยใช้เทคนิคการพูดกับเด็กให้เข้าใจในขั้นตอนการทดลอง


Assesment ประเมิน
our self ตัวเอง : ตั้งใจฟังที่เพื่อนนำเสนอการทดลอง
Friend เพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจเเละออกไปมีส่วนร่วม
Teacher อาจารย์ : ให้คำปรึกษาและวิธีการพูดให้เด็กฟัง



รูปภาพที่เกี่ยวข้อง

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2561

สรุปวิจัยเรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

สรุปวิจัย
เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

        The effect of sufficiency economy approach learning activities on yong children's scientific basic skills
ปริญญานิพนธ์ของ สำรวย สุขชัย


วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจําแนก รายทักษะ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยรวมและจําแนก รายทักษะ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยจําแนก รายทักษะ
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อมุ่งให้เด็กได้รับการฝึกฝนและพัฒนาทักษะ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสื่อความหมาย และทักษะ การลงความเห็น โดยจัดการเรียนรู่ในหน่วยการเรียนเรื่อง ร่างกายของฉัน ธรรมชาติให้สีสัน ผัก และขยะ ที่สอดคล้องกับความต้องการและความสนใจของเด็ก ภายใต้กรอบแนวคิดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน เงื่อนไขความรู้และเงื่อนไขคุณธรรม


ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสําหรับ เด็กปฐมวัย

ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 3 ทักษะ ประกอบด้วย
2.1 ทักษะการจําแนกประเภท
2.2 ทักษะการสื่อความหมาย
2.3 ทักษะการลงความเห็น



เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะ
พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สําหรับเด็กปฐมวัย


สรุปผลการวิจัย
จากการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูลสรุปได้ ดังนี้
1. ระดับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวมอยู่ในระดับพอใช้มีคะแนนเฉลี่ย X=9.67และจําแนกรายทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทักษะการลงความเห็นอยู่ในระดับ พอใช้ มีคะแนนเฉลี่ย X = 4.22 ทักษะการสื่อความหมายอยู่ในระดับพอใช้มีคะแนนเฉลี่ย X = 3.70 และทักษะการจําแนกประเภทอยู่ในระดับควรปรับปรุง มีคะแนนเฉลี่ย X = 1.74 ตามลําดับ
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยรวมอยู่ในระดับ ดีมาก มีคะแนนเฉลี่ย X = 16.44 และจําแนกรายทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทักษะการสื่อความหมายอยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนเฉลี่ย X = 6.19 ทักษะการจําแนกประเภท อยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนเฉลี่ย X = 4.04 ส่วนทักษะการลงความเห็นอยู่ในระดับดี มีคะแนน เฉลี่ย X = 6.22 ตามลําดับ
2. เปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย หลังได้รับการจัดการ เรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01 โดยรวมก่อนการทดลองมีคะแนนเฉลี่ย
X = 9.67 หลังการทดลอง มีคะแนนเฉลี่ X = 16.44 ซึ่งมีผลต่างคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ X = 6.77 และจําแนกรายทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทักษะการจําแนกประเภทก่อนการ ทดลองอยู่ในระดับควรปรับปรุง มีคะแนนเฉลี่ย X = 1.74 หลังการทดลองเด็กปฐมวัยมีทักษะการ จําแนกประเภทอยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนเฉลี่ย X = 4.04 ซึ่งมีผลต่างคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
X = 2.3 ทักษะการสื่อความหมายก่อนการทดลองอยู่ในระดับควรปรับปรุงมีคะแนนเฉลี่ย X = 3.70 หลังการทดลองเด็กปฐมวัยมีทักษะการสื่อความหมายอยู่ในระดับดีมากมีคะแนนเฉลี่ย X = 6.19 ซึ่งมีผลต่างคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ X = 2.49 ทักษะการลงความเห็นก่อนการทดลองอยู่
ในระดับพอใช้มีคะแนนเฉลี่ย X = 4.22 หลังการทดลองเด็กปฐมวัยมีทักษะการลงความเห็นอยู่ใน ระดับดี มีคะแนนเฉลี่ย X = 6. 22 ซึ่งมีผลต่างคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ X = 2.00
3. ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนว ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่าเด็กปฐมวัยมีคะแนนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร?ราย ทักษะสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง มีการเปลี่ยนแปลงโดยภาพรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.01 ของทักษะ พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เดิม ทักษะการจําแนกประเภทมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นอันดับแรก ร้อยละ 132.18 รองลงมาเป็นทักษะการสื่อความหมายร้อยละ 67.30 และทักษะการลงความเห็น ร้อยละ 47.40 ตามลําดับ



ที่มา : http://thesis.swu.ac.th/swuthesis/Ear_chi_Ed/Samruay_S.pdf

Recorded Diary 8

Friday  5   October 2018

time 08.30 - 12.30 o'clock


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ยินดีต้อนรับดุ๊กดิ๊ก


The knowledge gained ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนๆออกมาทำการทดลองบ้านวิทยาศาสตร์น้อย

เพื่อนคนเเรกที่ออกมาทดลองคือ 
นางสาวขนิษฐา  สมานมิตร เพื่อนทดลองเรื่องกะหล่ำปีเกิดสี โดยจะมีน้ำมะนาว น้ำกะหล่ำปี น้ำโซดา น้ำเปล่าและลองนำน้ำเปล่า น้ำมะนาว น้ำโซดามาผสมกับน้ำกะหล่ำปี สังเกตได้ว่ามันเกิดการเปลี่ยนสี





เพื่อคนที่สอง นางสาววิภาพร   จิตอาคะ  เพื่อนทดลองเรื่อง จรวดกล่องฟิล์ม เพื่อนได้นำน้ำมะนาวเเละเบกกิงโซดามาผสมกันเเละก็ปิดฝาสังเกตเห็นว่าฝากล่องฟิล์มพุ่งขึ้นเหมือจรวด


เพื่อนคนที่สาม นางสาวอภิชญา  โมคมูล เพื่อนทดลองเรื่อง เงา นำกล่องที่มีลูกปิงปองมาเเละปิดไฟหลังจากนั้นก็ใช้ไฟฉ่ายส่องเข้าไปในกล่องจะสังเกตเห็นว่า มีเงารูปของลูกปิงปองเกิดขึ้น



skills ทักษะ

ได้รู้เกี่ยวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์และการสอนเด็กในห้องเรียน

Apply การนำไปประยุกต์ใช้

สามารถนำไปใช้ในการทดลองให้เด็กดูได้เเละอธิบายตามขั้นตอนให้เด็กฟัง

Technique เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน

อาจารย์สอนโดยใช้เทคนิคการพูดกับเด็กให้เข้าใจในขั้นตอนการทดลองง่ายๆ


Assesment ประเมิน
our self ตัวเอง : ตั้งใจฟังที่เพื่อนนำเสนอการทดลอง
Friend เพื่อน : เพื่อนๆตั้งใจเเละออกไปมีส่วนร่วม
Teacher อาจารย์ : ให้คำเเนะนำในการสอนขั้นตอนการทดทองกับเด็ก


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ขอบคุณดุ๊กดิ๊ก